Benchmarking คืออะไร
Benchmarking คือ “การวัดเปรียบเทยบสมรรถนะ ี ” โดยเปนการทํางานอยางเปนระบบ เปนกระบวนการในการ
ดําเนินธุรกิจที่ทําใหเรารูจักตัวของเราเอง พิจารณาวิเคราะหวาตัวของเราเปนอยางไร อยูที่ใด เมื่อเปรยบเท ี ียบกับ
คนที่ดีที่สุดในอตสาหกรรม ุ หรอในโลกว ื าเรากับเขาตางกันตรงไหน แลวจึงมากําหนดการเดินทาง กรรมวิธีที่จะ
ปรับสภาพกระบวนการตางๆ ทางธุรกิจ เพื่อที่จะไปใหถึงดีเทียบเทา หรือดกวี าเขาที่เคยเกงที่สุดในปจจุบัน
Benchmarking มีวิธีการคิดอยางไร?
วิธีการคิดของ Benchmarking นั้นคือศึกษาดูงานของผูอื่น แลวน ําวิธีการมาเปรียบเทยบเพ ี ื่อหาวิธีการปฏิบตัิ
ตางๆ ที่ดีที่สุด (Best Practices) และนํามาใชในการปรับปรุงกระบวนการตางๆ วิธีการปฏิบัตติางๆ ในองคกร ให
เทียบเทา หรือดกวี าคูขงขัน โดย Benchmarking ไดแบ งการเปรียบเทยบเป ี น 2 ประเภท ไดแก
- การเปรียบเทียบในดานอะไร
- การเปรียบเทียบกับใคร
การเปรียบเทียบในดานอะไร
1. Performance Benchmarking
เปรียเทียบทางดานผลดําเนินการ เชนการเงิน หรืออาจเปนดานการปฏิบตัิการ เพื่อที่จะใหองคกร
สามารถตดสั ินใจในการหาวิธีการทําใหผลการดําเนินการที่ดีเมื่อเทียบกับองคกรอ ื่น
2. Process Benchmarking
เปรียบเทียบวิธการปฏ ี ิบตัิการสาหร ํ ับกระบวนการทางธุรกิจ เพื่อการเรียนรูจากองคกรที่ดีที่สดใน ุ
ดานนั้นเพื่อการปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจขององคกร
3. Strategic Benchmarking
เปรียบเทียบดานการเลือกและควบคุมการใชกลยุทธโดยเทยบก ี ับองคกรอื่นเพื่อรวบรวมขอม ูลใน
การนําไปปรับปรุง การวางแผน และตําแหนงกลยุทธในองคกรตนเอง
การเปรียบเทียบกับใคร
1. Internal Benchmarking
ตั้งเปาหมายภายใน หาวิธีปรับปรุงกระบวนการใหดีขึ้น โดยเทียบกันเองภายใน หรือเทียบกับ
หนวยงาน หรือแผนกที่มีลักษณะคลายคลึงกันภายในองคกร ซึ่งอาจะสังกัดคนละหนวยงาน อยูคน
ละที่ (ไมเปนผลดีในระยะยาว เหมือนบในกะลาครอบ)
2. Competitive Benchmarking
เปรียบเทียบโดยตรงกับคแขู ง (Direct competitors) ในอุตสาหกรรมที่มีผลิตภณฑั หรือบริการ
เหมือนกัน เปนสวนตอขยายจากค ูแขง เนนที่คูแขงที่อยูในระดบดั ีที่สดุ
3. Functional Benchmarking
เปรียบเทียบกับองคกรอื่นที่มีธุรกิจคลายคลึงกันที่ไมใชคแขู งขัน เชนลูกคา supplier เทียบกับ
องคกรที่ดีที่สดในอ ุ ุตสาหกรรมประเภทเดียวกนั (Industry leader) โดยเรียนรจากการท ู ํางานของ
เขา
4. Generic Benchmarking
เทียบกับบริษัทนอกกลุมอตสาหกรรมเด ุ ียวกัน ใกลเคียงกัน หรือตางประเภท หากเราเปนผูนําใน
อุตสาหกรรมของเราในดานนั้นๆ แลว ถือวาเปนการปรับปรุงตอ เพื่อหาผูที่เดนม ี่สุดในอตสากรรม ุ
อื่นๆ
การทํา Benchmarking นั้นทําอยางไร?
การทํา Benchmarking เลือกทําได 2 แนวทางคือ
1. Benchmarking แบบกลุม
2. Benchmarking แบบเดยวี่
1. Benchmarking แบบกลุม คือการทํา Benchmarking โดยเราขาไปรวมกลุมกับองคกรอื่นที่มีความตองการ
จะทํา Benchmarking เหมือนกนั
2. Benchmarking แบบเดี่ยว คือการทํา Benchmarking โดยเราองคกรเดยวม ี ีความตองการท ี่จะทํา
Benchmarking จึงกําหนดหัวขอที่ตองการท ําและดําเนินการตามกระบวนการ Benchmarking ตามที่ไดวางแผน
เอาไว เราตองเปนผูดําเนินการคนเดียวทั้งหมด ตั้งแตการกําหนดหัวขอ หาคูเปรียบเทยบี เก็บขอมูล พัฒนา
แบบสอบถาม วิเคราะหขอมูล และสรุปขอม ูล
ขั้นตอนการทํา Benchmarking นั้นไดใชโมเดลการวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบอยางเปนระบบคอื
วางแผน
(Plan)
1. เลือกกระบวนการที่ตองทํา BMK
2. คัดเลือกและจัดเตรียม BMK
3. กําหนดองคกรที่จะทําการเปรียบเทียบจากองคกรที่ไดรับการยอมรับวาดีที่สดุ
ดําเนินการ
(Do)
4. รวบรวมและวิเคราะหขอมูล
5. กําหนดชองว างของผลการปฏิบตัิงานและจุดแขง็ พรอมจัดทําขอเสนอแนะ
ศึกษา
(Check,
Study)
6. ศึกษาเชิงระบบ
7. สื่อสารใหทราบขอคนพบจากการทํา BMK
8. กําหนดเปาหมายและมาตรฐานการปฏิบตัิงาน
แกไข
(Action)
9. สรางแผนดําเนนการ ิ ลงมือปฏบิัตและก ิ ํากับความกาวหนา
10. การปรับเทียบซา้ํ ควบคุม และดําเนินการซ้ําตามวงจร
ซึ่งการทํา Benchmarking นั้นมีเงื่อนไขคือรูจักตนเองกอน ดังนั้นผูบริหารตองมีหนาที่ในการสนับสนุน และ
เงื่อนไขการทํา Benchmarking มีดังนี้
1. เขาใจความหมายและขั้นตอนการปฏิบตัิงานของหนวยงานของเราอยางละเอียด
2. วางแผนเพื่อกําหนดหนวยงานชั้นนําที่จะใชในการ เปรียบเทียบและเก็บขอมูล
3. วิเคราะหหาชองวางในผลการปฏิบตัิงาน/วิธีปฏิบตัิงาน
4. ประมวลขอมลเพู ื่อกําหนดเปาหมายและมาตรฐานใหม
5. กําหนดแผนการเพื่อการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการปฏิบตัิงาน
6. ปรับปรุงอยางตอเนองเพ ื่ ื่อรักษามาตรฐาน ความเปนเลิศไวสนับสนุนแผนกลยุทธขององคการ
7. กําหนดเกณฑที่ใชวัดเปรียบเทียบ
8. ผูนํามีความมุงมั่นในคุณภาพ
9. มีทรัพยากรพอเพียง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น